กฎหมาย E Payment สรรพากร 2562 — กฎหมาย E Payment สรรพากร 256 Go

ใช้แรงทำเงิน & ให้เงินทำงาน กด Subscribe รอเลย… Facebook | Line | Youtube | Instagram มีผลบังคับใช้กันแล้วตั้งแต่วันที่ 21 มีนาคมที่ผ่านมา สำหรับพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๔๘) พ. ศ. ๒๕๖๒ หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า พรบ.

ประกาศแล้วกฎหมายภาษี e-payment ทำธุรกรรมการเงินบ่อยเตรียมโดนเรียก

กฎหมาย e payment สรรพากร 2562 e

20 มี. ค. 2562 เวลา 11:36 น. 8. 5k ราชกิจจาประกาศ พ. ร. บ. แก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร e-Payment ให้สถาบันการเงินรายงานยอดธุกรรม ฝาก โอนเงิน ตั้งแต่ 3, 000 ครั้งต่อปี หรือโอนเงินตั้งแต่ 400 ครั้ง ยอดรวมแต่ 2 ล้านบาทขึ้นไป รายงานกรมสรรพากร เริ่มครั้งแรก 31 มี. 2563 ผู้สื่อข่าวรายงานว่าวันนี้ 20 มีนาคม เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา ได้เผยแพร่ พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 48) พ. ศ. 2562 โดยให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป สำหรับสาระสำคัญของกฎหมายฉบับนี้คือ การแก้ไขกฎหมายให้รองรับการทำธุรกรรมและเอกสารที่เกี่ยวข้องกับภาษีทางอิเล็กทรอนิกส์ อาทิ การให้ผู้จ่ายเงินได้สามารถเลือกวิธีการนำส่งภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายผ่านตัวกลาง (เช่น ธนาคาร) โดยผู้จ่ายเงินได้ไม่ต้องยื่นแบบแสดงรายการภาษี และนำส่งภาษีให้แก่กรมสรรพากรในภายหลัง ขณะเดียวกันยังกำหนดใหเสถาบันการเงิน ประกอบด้วย 1. สถาบันการเงินตามกฎหมายว่าด้วยธุรกิจสถาบันการเงิน 2. สถาบันการเงินของรัฐที่มีกฎหมายเฉพาะจัดตั้งขึ้น 3. ผู้ให้บริการเงินอิเล็กทรอนิกส์ตามกฎหมายว่าด้วยระบบการชำระเงิน รายงานข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลที่มีธุรกรรมลักษณะเฉพาะในปีที่ผ่านมา ภายในเดือนมีนาคมของทุกปี สำหรับข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลที่มีธุรกรรมลักษณะเฉพาะ ที่ต้องรายงานต่อกรมสรรพากร ได้แก่ 1.

กฎหมาย e-Payment ในปีนี้กับผลกระทบในปีหน้า

ศ. 2562 ราชกิจจานุเบกษา ได้ประกาศพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 48) หรือ กฎหมาย e-payment โดยได้ประกาศให้ทางสถาบันการเงินหรือธนาคารสามารถเปิดเผยข้อมูลบัญชีที่มีการรับโอนเงินจำนวนครั้งมากๆ ต่อวัน และนำส่งให้กรมสรรพากรดำเนินการตรวจสอบความเคลื่อนไหวของข้อมูลการทำธุรกรรมในบัญชีว่าสมควรเสียภาษีหรือไม่ ประกาศพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 48) หรือ กฎหมาย e-payment นี้ได้เริ่มมีผลบังคับใช้เรียบร้อยแล้วเมื่อวันที่ 21 มีนาคม พ.

กฎหมาย e payment สรรพากร 2562 login

เคลียร์ชัด “พรบ.e-Payment” - Wealth Me Up

2562 โดยสถาบันการเงินและผู้ให้บริการ e-Wallet/Payment Gateway จะต้องนำส่งรายงานทางการเงินของบัญชีที่เข้าเงื่อนไขต่อกรมสรรพากรเป็นครั้งแรก ภายในวันที่ 1 ม. -31 มี. 2563 และนับตั้งแต่ปี 2563 จะเริ่มการนับธุรกรรมตั้งแต่วันที่ 1 ม. -31 ธ.

กฎหมาย e payment สรรพากร 2562 1

ภาษีอีเพย์เมนต์ อะไรยังไง กระทบใคร เตรียมตัวรับมืออย่างไร มาดูกัน ปี 2562 นับเป็นปีที่มีการความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับ "กฎหมายภาษี" แทบจะตลอดทั้งปี และมีหลายฉบับที่อาจกระทบกับกระเป๋าเงินของเรา …มากบ้าง น้อยบ้าง แตกต่างกันไป ภาษีอีเพย์เมนต์ก็เป็นหนึ่งในนั้น อันที่จริง ภาษีอีเพย์เมนต์ เริ่มมีผลบังคับใช้แล้วตั้งแต่ 21 มี. ค. ปีนี้ แต่ที่น่าจับตาก็เพราะ ตั้งแต่ ม. - มี. 2563 รายงานข้อมูลธุรกรรมการเงินของเจ้าของบัญชีที่เข้าเงื่อนไขจะถูกส่งไปยังกรมสรรพากรเป็นครั้งแรก วันนี้ Marketeer จึงอยากมาบอกให้ฟังชัดๆ อีกครั้งว่ากฎหมายภาษีฉบับนี้กระทบกับใคร แล้วต้องรับมืออย่างไร รู้จักที่มาที่ไป "ภาษีอีเพย์เมนต์" อาจเรียกได้ว่าเป็นชื่อเล่นของ พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 48) พ. ศ.

  1. กฎหมาย E-Payment คืออะไร - บริษัท แอคโปรแท็ค จำกัด
  2. กฎหมาย E-Payment – PT-LOGISTIC
  3. วิธีสร้างรายการสิ่งที่ต้องทำง่ายๆใน Excel อย่างรวดเร็ว
  4. เว ล ไฟ ร์ 2016
  5. เคลียร์ชัด “พรบ.e-Payment” - Wealth Me Up
  6. กฎหมาย e payment สรรพากร 2562 login
  7. คู่มือ ภาษา ไทย garmin forerunner 35 review
  8. การซักผ้าไหม - YouTube
  1. ไอ โฟน 8vs ไอ โฟน 7
Tuesday, 1 February 2022